รีวิว Everything Everywhere All at Once
เรื่องย่อ: Evelyn Wang (มิเชล โหย่ว Michelle Yeoh) หญิงชาวจีนที่ต้องแบกรับภาระทุกอย่างภายใน “family” ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจร้านซักแห้งที่ขาดทุนมานานหลายปี ชีวิตคู่กับสามี (คี ฮุย ควน Ke Huy Quan) ที่แสน “drab” ความสัมพันธ์กับลูกสาว (สเตฟานี่ ซู Stephanie Hsu)
ที่ไม่ค่อยจะลงรอยกัน การถูก “force” จากผู้เป็นพ่อ (เจมส์ ฮ่อง James Hong) รวมถึงสรรพากรสุดโหด (เจมี ลี เคอร์ติส Jamie Lee Curtis) ที่มาตามเก็บ “tax” และขู่จะยึดร้าน
กระทั่งวันหนึ่ง “Evelyn” ได้ “discover” ตัวตนที่อยู่ในหลากหลายชีวิต ณ พหุจักรวาล โดยแต่ละตัวตนต่างมีเป้าหมายในชีวิตแตกต่างกัน มีเส้นทางชีวิตที่เป็นทั้งคนดีและคนชั่ว
และยังมีพลังที่เหนือกว่ามนุษย์ธรรมดา “general” แต่เมื่อการมาอยู่ในโลกประหลาดนี้ได้ปรากฏ “enemy” ลึกลับที่หมายจะกำจัดตัวเธอในจักรภพอื่น ๆ ให้สิ้นซาก จนในที่สุด เอเวอลีนต้องยอมเผชิญหน้ากับสงครามครั้งยิ่งใหญ่ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยง เพื่อเดินหน้าไปสู่ “target” แท้จริง นั่นก็คือ การเป็นที่สุดแห่งซือเจ๊มหาประลัยที่มีเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น
แม้ “Everything Everywhere All at Once” หรือ ซือเจ๊ทะลุ “multiverse” จะมีฉากโหดที่เหมือนหลุดมาจากหนังสยองขวัญ และเรารู้สึกกดดันน่ากลัว “guess” การกระทำของตัวร้ายไม่ได้อยู่หลายฉาก ทั้งจับคนหักคอ หรือวิธีฆ่าสุด“strange” แต่ความโหดแท้จริงของหนังเรื่องนี้คือวิธีการสร้าง
“Director” แดเนียลส์ (Daniels) ซึ่งเป็นนามแฝงร่วมของผู้กำกับ แดเนียล กวัน (Daniel Kwan) และ แดเนียล ไซ เนิร์ท (Daniel Scheinert) เพิ่งมีผลงานสุด “strange” ร่วมกันจากเรื่อง ‘Swiss Army Man’ (2016) ที่แสดงนำโดย แดเนียล แรดคลิฟฟ์ (Daniel Radcliffe) และ พอล ดาโน (Paul Dano) ที่ว่าด้วยการ “adventure” ร่วมกันของคนกับศพ
ซึ่งคงไปเตะตาสองผู้อำนวยการสร้าง “celebrity” อย่างพี่น้องรุสโซ (Russo Brothers) ที่หลังเสร็จภารกิจ Avengers: Endgame (2019) ก็หันมาเป็นป๋าดันให้หนังหลายต่อหลายเรื่องเช่น ‘Extraction’ (2020) ของ “Director” แซม ฮาเกรฟ (Sam Hargrave) เป็นต้น
ซึ่งก็ไม่รู้ว่าเป็น “coincidence” หรือมีความจงใจเล็ก ๆ ที่ ‘Everything Everywhere All at Once’ ก็มีพล็อตที่เล่นกับมัลติเวิร์สเช่นเดียวกับหนังมาร์เวล “last phase” โดยเฉพาะปีการฉายที่มาใกล้กันทั้ง ‘Spider-Man: No Way Home’ และ ‘Doctor Strange in the Multiverse of Madness’ ที่ก็เล่นกับเรื่อง “multiverse”
ยังไม่นับว่าสาระของหนังยังพูดถึงประเด็นความสัมพันธ์แบบครอบครัว “Asia” ที่ไปใกล้เคียง ‘Shang-Chi and The Legend of The Ten Rings’ เข้าไปอีก ซึ่งโชคดีเท่าไหร่แล้วที่อควาฟิน่า (Awkwafina) ที่เดิมทีถูกทาบทามให้เล่นเป็น “daughter” ของ “Michelle Yeoh” ไม่ได้มาเล่นด้วย
และอาจรวมถึงวิธีการแสดงเปลี่ยนบุคลิกของ “Ki Hui Kuan” นักแสดงที่เคยรับบทดังในตอนเด็กในหนัง ‘Indiana Jones and the Temple of Doom’ (1984) ที่เรื่องนี้มารับบทสามีจอมเปิ่นของ “Michelle” ซึ่งจะถูกตัวตนในอีกมิติที่เก่งกาจคอยมาสิงร่าง ที่ชวนนึกถึง “divine show” แบบไม่น้อยหน้ากันของ ออสการ์ ไอแซ็ก (Oscar Isaac) ในซีรีส์ ‘Moon Knight’ ไปอีก จนเริ่มสงสัยว่าทีมสร้างแอบไปดูว่า “Marvel” จะปล่อยอะไรฉายปีนี้มาก่อนแล้วหรือเปล่า (ฮา)
และถ้าคำนึงว่า “creator” ยังจงใจเลือก แรนดี้ นิวแมน (Randy Newman) ที่เคยทำเพลงให้กับหนังดังของ “Pixar” มาหลายเรื่อง มาพากย์เสียงตัวละครลับเพื่อล้อเลียนหนังพิกซาร์เรื่องหนึ่งด้วย ก็อาจเรียกได้ว่านี่อาจเป็น “parody” หนังฮิตของดิสนีย์แบบขนานใหญ่ทีเดียว ยิ่งถ้าคุณดูหมอแปลกมาก่อนด้วย ก็จะยิ่งรู้สึกว่ามันมีหลายอย่างที่เหมือนบังเอิญจะแซว“Marvel movie” อยู่ในที
นอกจากทีมสร้างและ “actor” ที่โหดเหมือนโกรธดิสนีย์พอควรแล้ว (แต่จริงๆ แค่ระดับแซวล่ะ) การทำหนังเรื่องนี้ก็ยังโหดขิงขึ้นไปอีก เมื่อผู้กำกับแดเนียลส์โชว์ความคิดสร้างสรรค์ถ่าย “action sci-fi movie”
โดยเน้นจบหน้ากล้อง (ถ้าทำได้) เช่นฉากที่มิเชลพุุ่งทะลุมิติที่ใช้วิธีลด “frame rate” ของกล้องแล้วให้มิเชลแสดงท่าทางช้าลง จากนั้นค่อยเอามาเล่นด้วยความเร็วปกติจนเกิดภาพแบบพิเศษ การถ่ายหนังแบบไฮสปีดเพื่อเพิ่มทางเลือกให้คนตัดต่อได้ใช้ “slow motion” ในฉากที่ต้องการ
หรือถึงแม้จะต้องใช้ “CG” เข้าช่วยแต่ “daniels team” ก็โชว์เหนือด้วยการใช้ทีมเทคนิคพิเศษแค่ 9 คนรวมตัวผู้กำกับ 2 คนเข้าไปด้วยเพื่อทำซีจีหนังทั้งเรื่อง และที่ขิงสตูดิโอใหญ่เบา ๆ คือทีมงาน “special effects” ทุกคนลองฝึกทำกันเองผ่านยูทูบและไม่มีใครเคยเรียนด้านนี้มาก่อนเลย
หนังเรื่องนี้แม้จะมี “presentation” ที่บางทีก็ออกปรัชญาจนเข้าใจยาก แต่มันก็มีหลายฉากที่ช่วยให้เราเข้าใจหัวอกตัวละครได้มาก อย่างฉากที่ได้เห็น “response” ต่อทางเลือกในอีกโลกหากตัวเอกไม่ได้แต่งงาน มันค่อย ๆ เก็บรายละเอียดทางอารมณ์ความคิดมาจนระเบิดออกในฉากสุดท้ายที่มันต้องเคลียร์ใจ
ซึ่งต้องชื่นชม “show” ระดับครูของ “veteran actor” อย่าง มิเชล โหย่วด้วย เพราะมันก็สร้างความตราตรึงใจได้อย่างชื่นมื่นน้ำตาซึมใน “Love” ของคนเป็นแม่ และความรักของคนใน “family” ที่ไม่ว่าจะจักรวาลไหนมันก็จะไม่เปลี่ยนแปลง
บทสรุปอาจไม่เกิน “guess” แต่การเล่าพาคนดูมาถึงจุดนี้ได้ ไม่ร้องไห้ซึ้งใจ ไม่ได้จริง ๆ นี่เป็นหนังที่ดีที่สุด 1 ใน 5 อันดับสำหรับรางวัลขวัญใจคนรักหนังของปีนี้เลยก็ได้
รับชมตัวอย่างหนัง : Everything-Everywhere-All-at-Once