รีวิว Love, Death & Robots Volume 3
นับจากปี 2019 เน็ตฟลิกซ์เชิญชวนผู้รักใน “animation” ได้เปิดประตูแห่งการ “test” ครั้งสำคัญ ด้วยโปรเจกต์รวมดาวที่ท้าทายทั้งการนำเสนอเนื้อหาและ “technique” ที่ก้าวล้ำ ทั้งอินดี้ อาร์ต ฉูดฉาด พาสเทล ดำมืด ผสมผสานลูกเล่นที่คาดไม่ถึง ไปจนซีจีที่สมจริงจนแยกไม่ออก ภายใต้ธีมหลักว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่าง กลไก หัวใจ ดับสูญ หรือ Love Death และ “Robots” ที่เปิดช่องให้ทั้งไซไฟ ดราม่า จนถึงปรัชญากันเลยทีเดียว
ในซีซันแรกเราอาจได้ว่าคือการปักหมุด “new era” ของแอนิเมชันตะวันตกที่ทะลุกรอบเดิม ๆ ไปอย่างสิ้นเชิง และทำให้เห็นความเป็นไปได้ไม่สิ้นสุดในการนำเสนอจากเรื่องดาวเด่นทั้ง ‘The Witness’ หรือ ‘Ice Age’ ที่เรื่องหลัง ทิม มิลเลอร์ (Tim Miller) จากหนัง ‘Deadpool’
ซึ่งรับบท “main producer” ของซีรีส์นี้ลงมากำกับเอง และในซีซัน 2 มันคือการขยายพื้นที่สู่ความตระหนักทาง “Wit” แบบอื่น ๆ ที่อาจย่อยยากขึ้นสักนิด กับงานอย่าง ‘The Drowned Giant’ ที่มีความเป็น “philosophy” กวีและเสียดสีด้วยการนำเสนอภาพที่ชวนอึ้ง
ในซีซันที่ 3 นี้ เหมือนว่าทีมสร้างจับได้ว่า ซีซันที่ 2 มีจุดพร่องอยู่ในเรื่องการเลือกเรื่องมา “offer” ในจำนวนที่พอต้องจำกัดจำนวนจะหว่านแหไม่ได้เยอะเท่า “first season” ซึ่งบังเอิญเรื่องที่เลือกมาก็ย่อยยากไปสักนิดหรือเอื่อยมากไปสักหน่อย มาซีซันนี้เลยเอาความรู้สึกของการเดินชม “Exhibition” ศิลปะแนวทดลองที่กลืนง่ายขึ้น ตื่นตาได้มาก และเร้าโสตประสาทคนดูแบบไม่ยั้งอย่างในซีซันแรกกลับมา และหลายเรื่องก็ทำให้นึกถึงหรือจะบอกว่าเป็นทายาทจากใน “first season” ก็ว่าได้เหมือนกัน
ดังนั้นไม่แปลกใจเลยที่เรื่องที่ต้อง “recommend” ให้ดูในซีซันนี้บางเรื่องจะมีชื่อคุ้นหูคุ้นตาผู้กำกับมาจากซีซันแรกด้วย อย่าง “director” อัลเบอร์โต มิเอลโก (Alberto Mielgo) ในเรื่อง ‘Jibaro’ ซึ่งในซีซันแรกเขาเคยกำกับตอนที่ชื่อ ‘The Witness’ จนตราตรึงใจผู้ชมมาแล้ว โดยในตอนนี้ยังมีชื่อ “Thai team” อย่างคุณ สาวิตรี สวนมิ ร่วมในการสร้างด้วยน่าภูมิใจมาก ๆ
สำหรับ ‘Jibaro’ ว่าด้วยเรื่องราวของ “knight troop” ยุคกลางที่ออกตามหาสมบัติจนมาพานพบกับปีศาจสาวเสียงมรณะแห่งลุ่มน้ำอย่าง ไซเรน ที่ยามใดเธอกรีดร้องออกมาชายทั้งหลายต้อง “insane” หลงใหลและยื้อแย่งวิ่งหาความตายสู่ใต่ก้นบึงทุกราย มีเพียงอัศวินหูหนวกที่รอดชีวิต ความประหลาดใจที่เสียงของเธอไม่ได้ผลทำให้เธอสนอก “Interested” ชายหนุ่มจนกลายเป็นความรัก
ด้วย “technique” การนำเสนอภาพแบบผสมผสานงาน 2 มิติบน 3 มิติ ที่สีสันฉูดฉาดมีรายละเอียดสูง การออกแบบโมชันของตัวละครที่ราวกับดูการแสดงร่ายรำของมืออาชีพที่ชวน “wonder” พอมาหลอมรวมกับเรื่องราวความรักต้องห้ามที่ไม่ต้องมีคำอธิบายก็เข้าใจได้
ทั้งยังมีแง่มุมนัยว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างชายหญิงที่ต่างคอยทำร้ายกันเข้าไปอีก “refuse” ได้ยากเลยว่าแอนิเมชันเรื่องนี้จึงคาบเกี่ยวระหว่างความบันเทิงที่น่าจดจำกับ “artwork” ชั้นดีที่ประเทืองปัญญายากจะลืมเลือน ยิ่งฉากถอดเครื่องประดับไซเรนนี่บาดหัวใจมากจริง ๆ
ส่วนผลงานที่ “recommend” ว่าห้ามพลาดในซีซันนี้ก็แทบจะคือที่เหลือทุกเรื่องนั้นเลย ไม่มีอันไหนที่ตกมาตรฐานจนมองข้ามได้ เช่นตอนที่เชื่อมโยงทุก “season” กับการหาคำตอบว่ามนุษย์สูญพันธุ์ได้อย่างไรของเหล่าหุ่นมากความสงสัยที่ต้องเจอแมว “Distract” มาตลอดใน ‘Three Robots: Exit Strategies’ และตอนที่ระดับความกวนพอกัน
และชวนให้นึกถึงงานโลกจิ๋วใน ‘Ice Age’ ของซีซันแรก ผ่านการนำเสนอวันโลกแตกด้วย “perspective” ของภาพแนว “Miniature Effect” ที่แปลงโลกความจริงให้กลายเป็นฉากจำลองของเล่นย่อส่วน ในตอนที่ชื่อ ‘Night of the Mini Dead’ ที่ highlight” คงเป็นเรื่องที่ว่ามีฉากหนึ่งเป็นประเทศไทยด้วย
ไม่แน่ใจว่ารู้สึกไปเองหรือไม่แต่ตลอดการรับชมซีซันที่ 3 นี้ รู้สึกกรอบจำกัด “violence” ด้านภาพมันแทบไม่มีเลย อาจเป็นซีซันที่โหดเอาเรื่องที่สุด ภาพอย่างชิ้นส่วนอวัยวะ “blood” เครื่องในกระจุยกระจายกลายเป็นอะไรที่ทำได้อย่างสามัญไปเลย
ตรงนี้คงมีข้อถกเถียงกันได้ “multidimensional” แต่ส่วนตัวคือถ้าเนื้อหามันรองรับเหมาะสม ความรุนแรงนั้นก็ถือว่ามีความสมเหตุสมผลไม่ได้เป็นความยัดเยียดหรือเกินเลย อย่างไรก็ดีก็ต้องย้ำกับ “viewer” ที่เป็นเด็กเล็กว่าอาจจะยังไม่ถึงวัยต้องมามีภาพติดตาเหล่านี้ไปฝันร้ายเปล่า ๆ แต่ถ้าวัยวุฒิถึง “digest” ได้ว่าเป็นศิลปะในความรุนแรงแล้วล่ะก็ แนะนำเลย
รับชมตัวอย่างหนัง : Love, Death & Robots Volume 3